“How does a UX/UI designer do for the finance sphere?”
“Does a UX/UIer only do graphic and visual design for financial companies?”
“Design skills are only required for a UX/UI designer?”
I have repeatedly answered those three questions above since I started working as a designer. Fortunately, as I’m considered myself one of the UX/UIer who is also part of a financial advisory firm, I think answering those questions by talking about my work experience at AA&P would be a great chance this time.
ในปัจจุบัน หลายคนเริ่มหันมาสนใจและใส่ใจเกี่ยวกับเรื่องของสุขภาพมากขึ้น กระแสการรับประเทศอาหารเพื่อสุขภาพและการออกกำลังกายเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง ไม่เพียงแต่สุขภาพกาย ผู้คนยังเข้าใจและให้ความสำคัญต่อสุขภาพจิตมากขึ้น แนวคิดเพื่อสุขภาพจิตที่ดี เช่น การปรับสมดุลชีวิตการทำงานและชีวิตส่วนตัว ก็เป็นที่นิยมเช่นกัน สภาวะที่เกี่ยวกับสุขภาพเหล่านี้เป็นชิ้นส่วนเล็ก ๆ ในภาพใหญ่ของสุขภาวะที่ดี (Wellbeing) มันไม่มีการจำกัดความเพียงหนึ่งเดียว แต่อย่างน้อย จากความเห็นชอบโดยทั่วไป สุขภาวะหมายถึงการมีอารมณ์เชิงบวก การไม่มีอารมณ์เชิงลบ การพึ่งพอใจกับชีวิต การเติมเต็มและการดำรงชีวิตทางบวก ซึ่งจริง ๆ แล้วสุขภาวะมีหลายด้าน เช่น สุขภาวะทางกาย สุขภาวะทางเศรษฐกิจ สุขภาวะทางสังคม ดังนั้นการจะไปถึงสุขภาวะในด้านต่าง ๆ อาจจะมีการปฏิบัติและกระบวนการ
จากประสบการณ์ทำงานด้านบริษัทการเงิน ทำให้ได้มีโอกาสเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของทีม AA&P ด้วยความปรารถนาที่จะเรียนรู้และรับประสบการณ์ใหม่ AA&P เปิดโอกาสให้ทุกคนได้ร่วมงานและค้นหาความชื่นชอบและพรสวรรค์ที่ซ่อนอยู่ อีกทั้งดึงศักยภาพของเราออกมา โดยให้เราพัฒนาตนเองในทุก ๆ วัน นอกจากนี้ยังได้พบว่าตัวเราเองรายล้อมไปด้วยผู้คนที่มีทัศนคติ และความปรารถนาที่จะนำพาให้ทีมพัฒนาไปพร้อม ๆ กัน ซึ่งก็คือความสำเร็จที่ถือเป็นปัจจัยหลัก
หลังจากที่จิรัชญาเรียนจบ เธอยังคงไม่รู้แน่ชัดในสิ่งที่เธออยากเป็น เธอรู้เพียงแค่ว่าเธอหลงใหลในสุนทรียศาสตร์ ศิลปะการออกแบบ และเทคโนโลยี เธอมองหาอาชีพที่จะทำให้เธอได้ทำงานอยู่กับสิ่งที่เธอหลงใหลเหล่านั้นและพบว่าอาชีพ UX/UI ดีไซเนอร์คือคำตอบของเธอ